กฎหมาย
เป็นระบบของกฎและแนวทางปฏิบัติซึ่งบังคับใช้ผ่านสถาบันทางสังคมเพื่อควบคุมพฤติกรรม
ในทุกที่ที่เป็นไปได้[1] กฎหมายก่อร่างการเมือง เศรษฐศาสตร์และสังคมในหลายวิถีทาง และใช้เป็นสื่อกลางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางสังคม
กฎหมายสัญญาวางระเบียบทุกอย่างตั้งแต่การซื้อตั๋วรถโดยสารประจำทางถึงการซื้อขายบนตลาดตราสารอนุพันธ์
กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินนิยามสิทธิและหนี้ซึ่งเกี่ยวข้องกับการโอน อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2559
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
โครงสร้างและความสำคัญของรัฐธรรมนูญ
2. โครงสร้างและความสำคัญของรัฐธรรมนูญ
ประเทศไทยเห็นความสำคัญของรัฐธรรมนูญทุกฉบับตลอดเวลา
ดังจะเห็นได้จากเมื่อมีการยกเลิกรัฐธรรมนูญไปแล้ว
ก็จะมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่มาใช้บังคับ ในเวลาต่อมาทันที
ยังผลให้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรมากถึง 18 ฉบับ ดังที่ได้กล่ อ่านเพิ่มเติม
ระบอบการเมืองการปกครอง
ลักษณะการเมืองการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย
คือ
ระบอบการปกครองตนเองของประชาชน โดยผ่านการเลือกสมาชิกผู้แทนราษฎรไปบริหารและดูแลเรื่องกฎหมาย
เพื่อผลประโยชน์ของประชาชนส่วนใหญ่และโดยการตรวจสอบควบคุมดูแลของประชาชนโดยตรงหรือการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน
เช่น การยื่นเสนอหรือแก้ไขกฎหมาย อ่านเพิ่มเติมสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนเป็นสิทธิของมนุษย์ทุกคนบนโลกที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิดและเป็นสากล
ไม่แบ่งแยกเชื้อชาติ ชนชาติ ประเทศ เพศ ผิวพรรณ ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม สติ ปัญญา
ความสามารถ ฐานะทางเศรษฐกิจที่จะดำเนินชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรี มีอิสระ เสรีภาพ
เสมอภาค มีชีวิตที่ดี มีสิทธิแสวงหาวัตถุปัจจัยม อ่านเพิ่มเติม
วันอังคารที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2559
พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก
ความหมาย
พลเมืองดี หมายถึง ประชาชนที่ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
ของตนเอง รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง
และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมไม่ละเมิดล่วงล้ำสิทธิและเสรีภาพของ บุคคลอื่น
ความสำคัญ
พลเมืองเป็นองค์ประกอ อ่านเพิ่มเติม
วัฒนธรรมไทย
คำว่า "ท้องถิ่น" หมายถึง
พื้นที่และขอบเขตที่ชุมชน หมู่บ้าน เมือง มีการปะทะสรรค์กันทางด้านสังคม เศรษฐกิจ
และวัฒนธรรม จนปรากฏรูปแบบทางวัฒนธรรมที่เหมือนกัน และแตกต่างกันไปจากชุมชน
หมู่บ้าน และเมือง ในท้องถิ่นอื่น
ดังนั้นวัฒนธรรมและประเพณีของท้องถิ่นแต่ละแห่งอาจมีรูปแบบแตกต่างกันไปตามสภาพทางภูมิศาสตร์
ทรัพยากรธร อ่านเพิ่มเติม
สังคมมนุษย์
สังคม คือ
กลุ่มคนตั้งแต่สองคนขึ้นไป
อาศัยอยู่ร่วมกันในดินแดนแห่งใดแห่งหนึ่ง
เพื่อช่วยเหลือพึ่งพากันและตอบสนองความต้องการพื้นฐานในการดำรงชีวิตซึ่งกันและกัน กลุ่มคนเหล่านี้มีความสัมพันธ์ต่อกันทั้งโดยตรงและโดยอ้อม
สาเหตุที่มนุษย์อยู่ร่วมกันเป็นสังคม
มนุษย์ได้ชื่อว่าเป็น “สัตว์สังคม” เพราะมนุษย์ดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม และมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน สรุปสาเหตุที่มนุษย์ต้องอยู่ร่วมกันเป็นสังคม
ดังนี้
1. ความจำเป็นต้องใช้ชีวิตอยู่ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)